บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    ชงโค : เสน่ห์แห่งใบและดอกจากพงไพรผู้เขียนเคยนำเสนอเรื่องลั่นทมหรือต้นจำปา (ลั่นทม) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติลาว แต่คนไทยปัจจุบันรู้จักในชื่อใหม่ว่า "ลีลาวดี" ขึ้นต้นคอลัมน์ว่าด้วยชื่อก็เพราะดอกไม้ไทยหลายชนิดมีคุณสมบัติต่างๆ มากมาย ทั้งความงามและคุณประโยชน์ แต่บังเอิญมีชื่อที่ไม่ถูกใจคนไทย หากมีการเปลี่ยนชื่อก็อาจได้รับความนิยมอย่างล้นหลามเช่นเดียวกับลีลาวดี (ลั่นทม) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    สวนล้างลำไส้ใหญ่ดีไหม?สมัยเป็นเด็กอยู่ต่างจังหวัด เวลาเป็นไข้ไปหาหมอที่สถานพยาบาลใกล้บ้านจะถูกหมอจับสวนทวารด้วยน้ำสบู่ทุกครั้งไป ตอนนั้นยังเด็กเกินกว่าจะเข้าใจในเหตุผลของการกระทำแบบนี้ จำได้แต่ว่ารู้สึกอึดอัด น่าทรมาน และจำภาพอึ่งอ่างและคำเตือนที่ติดอยู่ในห้องสวนทวารว่า "อย่าเบ่งท้องอย่างอึ่งอ่าง" (เดี๋ยวท้องแตก ดังในนิทานอีสป) เมื่อมาเรียนแพทย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ทุกคนมีทุนอยู่ ๑ แสนล้านเท่ากันทุนที่ว่านี้คือ เซลล์สมองเซลล์สมองของมนุษย์แต่ละคนมีประมาณ ๑๐๑๑ หรือ ๑ เติม ๐ สิบเอ็ดตัว คือ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ หรือ ๑ แสนล้านตัว แต่ละตัวเชื่อมโยงกับตัวอื่นๆ อีกประมาณ ๗๐,๐๐๐ ตัว เป็นโครงสร้างที่วิจิตรที่สุดในจักรวาล ถ้าอยากนึกถึงอะไรที่วิจิตรที่สุดในจักรวาลก็อยู่ตรงที่เราคิดนั่นแหละ คือสมองของเราเอง สมองของมนุษย์มีศักยภาพในการเรียนรู้สูงสุดๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    เมื่อหมอเป็นโรคกระเพาะในช่วงห่างกันประมาณ ๒๐ ปีผมถูกโรคกระเพาะเล่นงานอย่างหนักอยู่ ๒ ครั้ง ครั้งแรกเมื่อกว่า ๒๐ ปีมาแล้ว และครั้งหลังเมื่อ ๒ ปีที่ผ่านมาตอนเป็นครั้งแรกอายุ ๓๐ กว่าปี ตอนนั้นมีงานยุ่งๆ หลายอย่าง มีอาการปวดแสบตรงใต้ลิ้นปี่เวลาก่อนมื้ออาหารและเวลาท้องว่างๆ พอได้ดื่มนมอาการก็ทุเลา จึงได้ดื่มนมเพิ่มขึ้นอีก ๒ กล่อง คือ ช่วงสายๆ และช่วงบ่ายๆ และได้กินยาลดกรดน้ำขาว ช่วงหลังอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    การผ่าตัดหัวใจหัวใจของคนเราทำงานอย่างไร?ทำไมต้องทำทางเบี่ยง ลิ้นหัวใจเทียม หัวใจเทียม?"เป็นไปไม่ได้หรอกที่เราจะผ่าตัดเข้าไปทำอะไรกับหัวใจ""การผ่าตัดหัวใจไม่ว่าด้วยวิธีไหนก็ไม่มีทางที่จะเป็นไปได้" ศัลยแพทย์ชาวเยอรมันประสบความสำเร็จในการ เย็บแผลฉีกขาดที่หัวใจ เมื่อ ๑๐๐ ปีที่แล้วรู้จักการทำงานของหัวใจหัวใจคนเรามีทั้งหมด ๔ ห้องและเกี่ยวข้องกับลิ้นหัวใจอยู่ ๔ ลิ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ปกป้องครอบครัวจาก "ภัยอัมพาต"อัมพาตเป็นภาวะอ่อนแรงของร่างกายด้านใดด้านหนึ่งที่เป็นผลสืบเนื่องจาก "โรคหลอดเลือดสมอง" ที่เกิดความผิดปกติขึ้นอย่างกะทันหันและไม่สามารถคาดเดาก่อนได้ ทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยงจากหลอดเลือดสมองตีบ อุดตันหรือแตก ปัจจุบันพบว่าทั่วโลกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวนเพิ่มมากขึ้น สำหรับประเทศไทยโรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่พบมากที่สุดในโรคทางระบบประสาท ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    สมองและการเรียนรู้"ปัจจุบันในนานาอารยประเทศมีผลวิจัยทางสมองมากมาย ทำให้เราทราบว่าการพัฒนาสมองนั้นมีผลกระทบมาจากการอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริม การสนับสนุนจากผู้เลี้ยงดู ผู้ปกครอง และพ่อแม่ (ร้อยละ ๔๐-๗๐ ) มากกว่าพันธุกรรม (ร้อยละ ๓๐-๖๐) และทำให้ทราบว่า เด็กที่เกิดมาแล้วถูกทอดทิ้ง ใยประสาทของเซลล์สมองจะเกิดน้อย ทำให้ความฉลาดน้อยและเรียนได้ช้า ทำอะไรไม่ค่อยไว เฉื่อยชา ขาดเหตุผล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ศิลปะกับการพัฒนาสมองมนุษย์เรารู้กันมานานแล้วว่าศิลปะคือสิ่งจรรโลงจิตใจมนุษย์ช่วยให้มนุษย์มีจิตใจที่อ่อนโยน สงบ และไม่หยาบกระด้าง เราใช้ศิลปะบางแขนงช่วยในการเยียวยาความเจ็บป่วยของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ นี่คือคุณประโยชน์ของศิลปะที่เรารับรู้ แต่ก็ยังไม่มีใครบอกได้ว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    แผลถลอกแผลถลอกเป็นแผลตื้นๆ ที่มีผิวหนังลอกหลุด หรือขูดข่วน มีเลือดออกเล็กน้อยการปฐมพยาบาล๑.ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดและสบู่จนหมดสิ่งสกปรก๒.ใช้ผ้าสะอาดกดที่แผล เพื่อให้เลือดหยุด๓.ใส่ยาสำหรับแผลสด อาจปิดแผลหรือไม่ก็ได้ระวังอย่าให้แผลเปียกน้ำ เพราะจะทำให้แผลแฉะ อักเสบง่าย
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    แผลถูกของมีคมบาดแผลถูกของมีคมบาดอาจเกิดจากเครื่องมือหรืออาวุธที่มีคม เช่น มีด ขวาน แก้วแตก เป็นต้น ลักษณะของแผลมักเป็นแผลขอบเรียบ อาจมีเลือดออกมากหรือน้อยขึ้นกับขนาดของแผลการปฐมพยาบาล๑. แผลขนาดเล็กใช้นิ้วหัวแม่มือ หรือผ้าสะอาดกดที่แผลเพื่อห้ามเลือด ถ้าเป็นแผลขนาดใหญ่ให้ใช้ผ้าพับหลายชั้น และกดที่แผลโดยตรง๒. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดและสบู่๓. ใช้ผ้าสะอาดปิดแผล๔. ถ้าแผลกว้างมาก ...