บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ลิ้นเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อล้วนๆ และมีอวัยวะสำหรับลิ้มรส⇒หน้าที่ลิ้นนอกจากจะมีหน้าที่ในการลิ้มรสแล้วยังทำหน้าที่1.ช่วยในการพูดและการออกเสียงต่างๆ 2.ช่วยในการเคี้ยวเละการกลืนอาหาร⇒ ลักษณะทางด้านบนของลิ้นมีลักษณะสาก ประกอบด้วยตุ่มต่างๆ หลายชนิด ทำหน้าที่ในการชิมรสต่างๆ1.ปลายลิ้น ทำหน้าที่ในการชิมรสหวาน2.ข้างๆ ลิ้นส่วนต้น ทำหน้าที่ในการชิมรสเค็ม3.ข้างๆ ลิ้นส่วนใน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    เป็นความจริงที่ว่าชั่วชีวิตของคนเรานี่ ไม่ตอนใดก็ตอนหนึ่งต้องมีอาการของริดสีดวงทวาร (หนัก) ที่จริงพอพูดถึงริดสีดวงคนก็รู้กันว่าเป็นอย่างไร โดยหมอไม่ต้องแจกแจงอะไรอีกแต่จะมีน้อยคนที่รู้จริงๆ ว่าริดสีดวงคืออะไร เป็นอย่างไร และมีวิธีป้องกันและรักษาอย่างไร®ริดสีดวงคืออะไรริดสีดวง คือ หลอดเลือดดำที่ทวารหนักโป่งพองออกทำให้มีอาการเจ็บๆ คันๆ ในระยะแรก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ฉบับที่แล้ว เล็บบอกโรค (ตอนที่ 1) ได้เขียนถึง “เล็บรูปช้อน” ซึ่งเป็นอาการของคนที่เป็นโรคโลหิตจางเนื่องจากขาด ธาตุเหล็กความผิดปกติของเล็บ ซึ่งจะช่วยบ่งบอกถึงโรคต่างๆ นั้นยังมีอีกลายอย่าง ฉบับนี้ขอเสนอตัวอย่างอีก 3 เรื่อง ได้แก่ 1.เล็บปุ้ม (รูปที่ 2)เล็บปกติของคนเรานั้น เมื่อมองจากทางด้านข้าง จะเห็นว่าตรงตีนเล็บ (ที่ติดกับเนื้อ) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    การเลี้ยงดู119.เลี้ยงด้วยนมแม่เด็กในช่วงอายุ 4-5 เดือนที่เลี้ยงด้วยนมแม่แล้วกินนมเก่ง น้ำหนักเพิ่มดี (เฉลี่ยวันละ 15-20 กรัม) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกใจเลยที่ปัจจุบันนี้ จำนวนคนที่ป่วยเป็นโรคประสาทจึงเพิ่มขึ้นมากเพราะ ทุกวันนี้ คนเราถูกบีบคั้นด้วยความเครียด ความวิตกกังวลจากปัญหาต่างๆ รอบด้าน เช่น ปัญหาส่วนตัว ปัญหาการงาน ปัญหาการเงิน ปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม ฯลฯ สารพัดคนที่มีสุขภาพจิตไม่ค่อยดีนัก ถ้าเป็นคนที่สามารถเก็บความรู้สึกได้หรือเคยผจญปัญหาหนักๆ มา ก่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ⇒ชื่ออื่นปะเซ้ส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ; ปะเซอก่อ (กะเหรี่ยง-ตาก) ; หอม (ทั่วไป) ; หอมแดง (ภาคกลาง-ภาคใต้) ; หอมไทย, หอมหัว (ภาคกลาง) ; หอมบัว (ภาคเหนือ) ; ชัง,ตังชัง (จีน) ; shallot.⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Allium ascalonicum L. วงศ์ Liliaceae⇒ ลักษณะเป็นพืชขนาดเล็ก สูง 15-50 ซม. มีกาบใบพองสะสมอาหารเป็นกระเปาะคล้ายหัว สีแดงถึงน้ำตาลเหลือง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    มนุษย์เรารู้จักใช้พืชมาแต่โบราณกาล โดยใช้เป็นอาหาร เชื้อเพลิง เครื่องนุ่งห่ม เครื่องมือในการดำรงชีพ ที่พักอาศัย และการบำบัดรักษาโรค นอกจากนั้นพืชยังช่วยดูดกรองอากาศพิษได้ด้วย ประเทศเราเป็นประเทศกสิกรรมมีพืชพันธุ์ธัญญาหารมากมาย ซึ่งพืชเกือบทุกชนิดมีฤทธิ์ทางการรักษามากบ้างน้อยบ้าง เราจึงน่าที่จะเลือกพืชบางชนิดง่ายๆ มาใช้เป็นสมุนไพรในการรักษาอาการของโรคพื้นๆ เช่น ปวดหัว ตัวร้อน ท้องผูก หรืออื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    โรคอันเกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน ซึ่งทางราชการกระทรวงมหาดไทยกำหนดไว้ มีอยู่ 22 ประเภท (ทั้งนี้รวมทั้งโรคผิวหนังอันเกิดจากการสัมผัสรับเนื่องจากการทำงาน) นอกจากนี้ ยังมีอุบัติเหตุอันตรายอันเนื่องจากการประกอบอาชีพ ซึ่งเกิดได้จากสาเหตุใหญ่ๆ อีก 8 ประการ คือ ลื่นหกล้ม ตกจากที่สูง สิ่งของตกใส่ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ถูกของมีคม แรงระเบิด ไฟฟ้าดูด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    การตรวจตามระบบการตรวจหูหูเป็นอวัยวะที่ใช้ฟังเสียง และช่วยในการทรงตัว การตรวจหูประกอบด้วยการตรวจ1.ใบหู ใบหูของคนเรามีลักษณะต่างๆ เช่น หูกาง หูแฟบ หูเล็ก หูใหญ่ ไม่มีติ่งหู มีติ่งหูใหญ่หรือยาน เป็นต้น จนหมอดูนำไปใช้ในการทำนายชีวิตและอนาคตของคนที่เป็นเจ้าของใบหูได้แต่ในการเจ็บป่วย ใบหูที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคมีหลายอย่าง เช่นก.ตำแหน่ง ใบหูปกติจะเกาะติดอยู่กับศีรษะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 26 มิถุนายน 2524
    ลำไส้ใหญ่เป็นส่วนปลายของระบบทางเดินอาหาร และเป็นทางผ่านของกากอาหารออกสู่ภายนอกทางช่องส้วมหรือทวารหนัก ลำไส้ใหญ่มีหน้าที่ช่วยดูดซึมน้ำได้บ้าง จึงทำให้กากอาหารเป็นก้อนทวารหนักเป็นบริเวณประตูทางออกของกากอาหารมีลักษณะคล้ายหูรูดมีเส้นเลือดมาเลี้ยงมาก การเสียดสีบ่อยๆ ของกากอาหารที่มีลักษณะแข็ง จะทำให้เส้นเลือดเหล่านี้พองโตและขาดได้ เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดเป็นโรคริดสีดวงทวาร ...