บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    ในบรรดาวัตถุที่ใช้ปรุงแต่งชูรสอาหาร ซึ่งเป็นที่นิยมและรู้จักกันดีในกลุ่มแม่บ้านและผู้ประกอบอาหาร จนเรียกกันติดปากว่า “ผงชูรส” นั้น ความจริงแล้วผงชูรสที่กล่าวถึงนี้ เป็นสารเคมีชื่อ โมโนโซเดียมกลูตาเมต (monosodium glutamate) ซึ่งเป็นเกลือของกรดกลูตามิกสำหรับกรดกลูตามิกนี้เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งซึ่งมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตรวมทั้งคนด้วย โดยกรดอะมิโนกลูตามิกนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    บุคคลที่เป็นลม จะต้องได้รับ “การจับชีพจร” ถ้าจับชีพจรที่ข้อมือหรือข้อพับข้อศอกไม่ได้ ให้จับที่คอ ถ้าแน่ใจว่าจับไม่ได้ แสดงถึงสัญญาณอันตรายว่า อาจเกิดจากหัวใจหยุดเต้น ซึ่งจะต้องตรวจให้แน่ใจอย่างรวดเร็วว่า1. “ดูว่าหมดสติจริงหรือเปล่า” โดยการเรียกชื่อ หรือหยิกต้นแขนต้นขาแรงๆ หรือใช้ข้อนิ้วมือกดขยี้บนกระดูกหน้าอก ถ้าหมดสติจะไม่แสดงความรู้สึกต่อการกระทำเหล่านี้2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    ในฉบับก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการปวดข้อตามส่วนต่างๆของร่างกาย ฉบับนี้จะกล่าวถึงการตรวจวินิจฉัยปัญหาปวดข้อให้แน่นอน ที่สำคัญคือประวัติ การซักประวัติให้ดี มักจะช่วยในการวินิจฉัยได้มากเมื่อคนไข้เมื่อคนไข้มาหาเรื่องปวดข้อ สิ่งแรกที่จะต้องทำคือการซักประวัติและต้องแยกให้ได้ คืออาการปวดข้อนั้นเป็นอาการปวดในข้อ (articular rheumatism) หรือเป็นอาการนอกข้อ (nonarticular rheumatism) ซึ่งเป็นอาการปวดของเอ็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    โรคเกาต์เป็นโรคที่เกิดจากการมีกรดยูริกสะสมในร่างกายมากเกินไปจนตกตะกอนตามอวัยวะบางแห่ง เช่น ข้อ ใต้ผิวหนัง และไตการตกตะกอนของกรดยูริกที่ข้อ ทำให้ข้ออักเสบ (ปวด บวม แดง ร้อน) อย่างรุนแรงจนข้อนั้นใช้งานไม่ได้ และในระยะยาวหากไม่ได้รับการแก้ไข ข้อก็จะพิการการตกตะกอนที่ใต้ผิวหนังทำให้เกิดก้อนนูนใต้ผิวหนัง ซึ่งพอนานเข้าก็อาจแตกทะลุออกมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    “คุณเคยขูดหินปูนบ้างไหม?”“คุณได้รับการขูดหินปูนครั้งสุดท้ายเมื่อไร?”ท่านที่เคยไปหาหมอฟันคงจำได้ว่า บ่อยครั้งที่ทันตแพทย์มักจะถามท่านด้วยคำถามข้างต้น ซึ่งครั้งแรกๆท่านคงจะแปลกใจ และไม่แน่ใจว่าทันตแพทย์หมายถึง “หินปูน" ที่บริเวณไหนบางท่านอาจนึกถึง “หินปูน” ตามธรรมชาติ ที่หมายถึง หินตะกอนเนื้อละเอียดสมานแน่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    โรคหัดคืออะไรโรคหัดหรือภาษาชาวบ้านเรียก “ไข้ออกตุ่ม” (ถ้าเป็นชาวจีนก็เรียกว่า “ชุกม้วย”) เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดโรคหนึ่งในเมืองไทย ทั้งนี้ตั้งแต่โบราณมาแล้วที่เด็กทุกคนจะต้องเป็นโรคหัด จนเป็นความเชื่อไปเลยว่ายากดีมีจนไม่มียกเว้น และถือว่าการเป็นหัดเป็นเรื่องปกติธรรมดาอย่างไรก็ดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    กินแล้วรักษาโรคมะเร็งและเป็นอมตะจริงหรือ?ข่าวของผู้เชี่ยวชาญอาหารและมะเร็งจากประเทศญี่ปุ่นที่มาบรรยายสรรพคุณของเห็ดหลิงจือว่าสามารถรักษาโรคมะเร็งได้ เป็นที่ฮือฮากันในหมู่ประชาชนชาวไทยและสื่อมวลชนก็ได้เสนอข่าวไป อาจทำให้ประชาชนทั่วๆไปเกิดความเชื่อว่าเห็ดหลิงจือสามารถรักษาโรคได้สารพัดและเป็นยาอายุวัฒนะ กินแล้วเป็นอมตะผู้เขียนได้พยายามหาข้อมูลการศึกษาวิจัยทั้งทางเภสัชวิทยาและรายงานทางคลินิก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    การที่คนเราจะมีสุขภาพที่สมบูรณ์นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ซึ่งสรุปเป็นองค์ประกอบได้ 4 อย่างด้วยกันคือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ “การนวด” นี้เป็นวิธีการอย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถบรรลุหลักการหรือองค์ประกอบทั้ง 4 นี้ได้ กล่าวคือ การส่งเสริมสุขภาพหมายถึงการที่พยายามเสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกาย และจิตใจให้อยู่ในภาวะที่สมบูรณ์ตลอดเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    การประกันสุขภาพในประเทศจีน (12)เพื่อตอบสนองต่อนโยบายการพัฒนาสาธารณสุขของรัฐบาล พื้นที่ในแต่ละแห่ง ตั้งแต่ระดับภูมิภาคจังหวัดลงมาก็ต้องพยายามที่จะทำให้มีการบริการสาธารณสุขสามารถครอบคลุมประชาชนทุกหมู่เหล่าได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ จะทำเช่นนั้นได้จะต้องมีงบประมาณที่เพียงพอจึงจะทำได้ดังนั้นแต่ละแห่งจึงพยายามหาแหล่งงบประมาณมาช่วยให้ตนเองบรรลุวัตถุประสงค์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 กุมภาพันธ์ 2531
    บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้9. เลี้ยงลูกให้เป็น “บุ๋นจิเนียร์”สมมติว่าลูกของคุณเก่งทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ คุณจะส่งเสริมความสามารถของลูกอย่างไร?ผมคาดว่าคงจะมีผู้ตอบว่า “ก็สนับสนุนให้เขาศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เขาสนใจ พวกวิชาสังคม ภาษา เขาไม่ชอบก็ช่างเถอะ ไม่จำเป็นต้องเรียนนัก เพราะโตขึ้นเข้ามหาวิทยาลัยก็จะแบ่งเป็นสายวิทย์สายศิลป์อยู่ดี ...