บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    สงสัยอวัยวะเพศของลูกว่าเป็นหญิงหรือชายสมจิตหอบลูก (ชาย) ออกจากโรงพยาบาลกลับไปบ้านด้วยความดีใจ ความที่เห่อลูก( ชาย ) จึงเชิญพ่อแม่ พี่น้อง ปู่ย่า ตายาย ตลอดจนเพื่อนบ้านมาเลี้ยงฉลองกันใหญ่โตพอถึงเวลาสำคัญที่ญาติพี่น้องและแขกจะได้ชมโฉม “ไอ้จู๋” ของลูก (ชาย ) สุดที่รัก สมจิตต้องตกใจเกือบช็อกรู้สึกหน้าเสียและเสียหน้ามาก เพราะ “ ไอ้จู๋ “ ของลูก ( ชาย ) ไม่ยักกะมี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    มื้อเล็ก(บางครั้ง)ดีกว่ามื้อใหญ่คนที่อ้วน (แบบไม่ตั้งใจ) มักจะโทษอาหารจุบจิบที่ตัวเองกินเข้าไปในแต่ละวันเสมอ ว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้อ้วน แต่เชื่อหรือไม่ว่าการกินอาหารลักษณะนี้มีผลช่วยให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีสุขภาพดีขึ้นได้ แต่ข้อสำคัญจะต้องกินอย่างถูกวิธีด้วยจากผลการศึกษาครั้งล่าสุดพบว่าคนไข้โรคเบาหวานที่ไม่ต้องพึ่งอินซูลินเพียงแต่รักษาด้วยการกินยา จำนวน12 คนมีอาการดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ใหญ่ใช่ว่าจะดียิ่งเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับโทรทัศน์มาก ก็ยิ่งพบว่า โทรทัศน์มีผลกับจิตใจของผู้ชมมากขึ้นทุกวันเป็นความจริงที่เทคโนโลยีของโทรทัศน์พัฒนาขึ้นไปรวดเร็วมากจนดูราวกับว่าโทรทัศน์กลายเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งของครอบครัวที่จะขาดไม่ได้เสียแล้ว ภาพสัญญาณไฟฟ้าที่ปรากฏบนจอขนาดใหญ่ช่างเหมือนกับของจริง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ฟันสบกันไม่ดีหากสังเกตให้ดีบางท่านมักไม่ค่อยชอบยิ้ม ทั้งนี้ไม่ใช่ไม่อยากยิ้ม แต่ไม่กล้ายิ้มต่างหาก เหตุผลอาจเนื่องมาจากฟันหลอ ฟันเก หรือฟันยื่นออกมามากกว่าปกติพูดถึงเรื่องนี้ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวเตือนว่า ความพิการของฟันไม่เพียงแต่จะทำให้ดูไม่น่าพิสมัยเท่านั้นยังมีผลต่อสุขภาพของช่องปากในอนาคตอีกด้วย ปัญหาในช่องปากที่เราท่านพบเห็นกันบ่อยๆ อย่างเช่น ปวดฟัน พูดไม่ชัด เคี้ยวหรือกลืนได้ลำบาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    เรื่องของวิตามินจากการศึกษาเป็นเวลากว่า10 ปี โดยเก็บข้อมูลจากผู้ชายและผู้หญิงจำนวน 10,000 คน ที่มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ที่ได้รับวิตามินซี วันละ300 -500 มิลลิกรัม เสียชีวิตจากโรคหัวใจล้มเหลวน้อยกว่าพวกที่รับวิตามินซีน้อย นอกจากนี้ยังมีรายงานการเก็บข้อมูลจากผู้ที่มีอาชีพพยาบาลจำนวน 87,000 คน โดยมีการประเมินและวิเคราะห์ผลเป็นเวลา8 ปี พบว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ก็เป็นห่วงว่าจะได้เลือดไม่ดีจากผมอีก...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ดัดตนแก้เหน็บชา เห็นทุกข์เห็นแท้โทษ เบญจขันธ์ คือพระมาฆะนักธรรม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ตีนโทะเห็นชื่อเรื่องแล้วผู้มิใช่ชาวปักษ์ใต้ขนานแท้และดั่งเดิมคงจะพิศวงสงสัยว่านี่มันอะไรกันแน่ ถึงชาวปักษ์ใต้ก็เถอะ หากเข้ามาอยู่ในกรุงเสียนานจนแหลงภาษาบ้านเราไม่ถนัดก็จะลืมเลือนคำนี้ไปบ้าง ค่าที่เรื่องราวหรืออาการ “ตีนโทะ" ตอนนี้มีน้อยลง มิได้พบกันหนาหูหนาตาเช่นแต่ก่อน แต่อันที่จริงแล้วก็ยังมิได้หมดไปทีเดียวผู้เขียนเองก็มิใช่นักภาษาศาสตร์จึงไม่ทราบที่มาของศัพท์นี้อย่างแน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ช่องท้องและช่องอกโลกของเทคโนโลยียุคนี้ก้าวไปไกลมาก ความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์บางอย่างเป็นอิทธิฤทธิ์เหนือจริงของคนรุ่นบรรพบุรุษเรา เช่น การมีหูทิพย์ ตาทิพย์ ได้กลายมาเป็นจริงแล้วในวันนี้เมื่อเรามีโทรศัทพ์ที่สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันจากคนละมุมโลกได้ เรามีดาวเทียมที่สามารถส่งภาพจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งได้เมื่อเป็นเช่นนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    การตรวจรักษาอาการเลือดออก (ตอนที่12)อาการเลือดออกในกะโหลกศีรษะ นับเป็นอีกอาการหนึ่งที่ทุกท่านควรใส่ใจ ด้วยเหตุที่เราไม่สามารถเห็นอาการแสดงได้อย่างชัดเจน เช่นเดียวกับอาการเลือดออกในบริเวณอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ท่านก็ยังพอจะสามารถวินิจฉัยอาการได้จากประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ดังนี้12. เลือดออกในกะโหลกศีรษะ ...