บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา "คน" ให้ได้ก่อน "ไข้"ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๒๙ในช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๘ ข่าวไข้เลือดออกระบาดในประเทศไทยได้รับความสนใจสูงสุดเมื่อมีการแถลงข่าวการป่วยของ ด.ช.ภูมิภัทร ผลสมบูรณ์โชค หรือ "น้องภูมิ" ซึ่งป่วยหนักด้วยโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเดงกี่ (Dengue hemorrhagic fever) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    สมุนไพรจีนกับสตีรอยด์(๒)"ดิฉันรู้ดีว่าคุณหมอไม่ได้ใส่สตีรอยด์สังเคราะห์เข้าไปในยาจีนหรอกคะ แต่อดสงสัยไม่ได้ว่าสมุนไพรจีนหลายตัวที่มีผลวิจัยพบว่า มีสตีรอยด์ธรรมชาติ ถ้าดิฉันกินเข้าไปจะสะสมทำให้อ้วนหรือเปล่า?"เป็นเรื่องแปลก แม้ว่าจะพบสมุนไพรจำนวนมากในท้องตลาด ที่แอบใส่สตีรอยด์เข้าไป แต่มักจะหาแหล่งผลิตยาก เพราะผู้ผลิตจำหน่ายมักไม่ใช่หมอ (ผลิตเพื่อการค้า) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ออกกำลังอย่างไรในคนทำงานคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ช่วยให้คนทำงานได้เร็วและมากขึ้น เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงใช้พลังงานเพียงน้อยนิดแต่ได้ผลงานออกมามาก การเคลื่อนนิ้วไปมาระหว่างแป้นพิมพ์หรือการใช้เมาส์ การเคลื่อนของศีรษะ ไปมาขณะทำงานใช้พลังงานน้อยมาก แต่ในแง่ของระบบร่างกายนั้น มนุษย์ต้องมีการเคลื่อนไหวไม่ใช่อยู่นิ่งเหมือนขณะใช้คอมพิวเตอร์ ยิ่งถ้ามีความเครียดมาประกอบกับงานที่ทำแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ยาแก้ข้อเข่าอักเสบปวดหัวเข่า โรคปวดหัวเข่า ในที่นี้คงหมายถึง โรคข้อเข่าเสื่อม (osteoarthritis of knee) ซึ่งเป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เป็นการเสื่อมสภาพของข้อเข่าตามสภาวะการใช้งาน การเสื่อมในลักษณะนี้อาจเกิดกับข้อใดๆของร่างกายก็ได้ แต่ที่พบบ่อยที่สุดคือ ข้อเข่า (knee) ทั้งนี้ เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อขนาดใหญ่ที่รับน้ำหนักร่างกายของคนเราทั้งตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ดัดตน แก้ลมในตะโพก และต้นขาทั้งสอง นาไลย์โสภาคพร้อม กายระหง งามแลออกบวชบำเพ็ญพรตพง พนาน้อยนอนหงายหัตถ์หนุนองค์ ขาไขว้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    บนเส้นทางหนังสือ (๖)ตอนที่แล้วเราคุยกันจากหนังสือ "ศิลปะแห่งความสุข" ของท่านทะไล ลามะ ถึงตอนที่ว่าด้วยความสัมพันธภาพระหว่างมนุษย์ความสัมพันธ์ที่อยู่บนฐานของความเสน่หาและการแต่งงานหมอคัตเลอร์ว่ารู้สึกแปลกมากที่จะคุยเรื่องเพศและการแต่งงานกับคนที่เป็นพระและอายุกว่า ๖๐ ปีแล้ว แต่ท่านทะไล ลามะ ก็ไม่รังเกียจที่จะคุยถึงเรื่องนี้ เขาจึงถามท่านว่า"ในวัฒนธรรมตะวันตก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ขนมปังหน้าหมูได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มีลักษณะที่ชวนกิน วิธีทำก็ไม่ยากถ้าไม่ชอบหมูจะดัดแปลงเป็นหน้าอื่นๆ ก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นหน้าไก่ หน้ากุ้งแล้วแต่ความชอบ ขนมปังหน้าหมูจะอร่อยหรือไม่ขึ้นอยู่กับการปรุงรสของหมู ต้องมีกลิ่นหอมรากผักชี พริกไทย กระเทียม อาจาดต้องมีรสกลมกล่อม และขนมปังต้องกรอบไม่อมน้ำมัน ขนมปังที่นำมาทำต้องหั่นเป็นชิ้นพอคำแล้วนำไปตากแดดจนขนมปังแห้ง เพื่อตอนทอดจะได้ไม่อมน้ำมัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    บุนนาค :จากความงามและความหอมสู่ตระกูลใหญ่ตามประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย มีบันทึกไว้ชัดเจนว่า แต่ก่อนไม่มีการใช้นามสกุลต่อท้ายชื่อมาแต่เดิม เพิ่งจะเริ่มใช้นามสกุลอย่างเป็นทางการในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ (รัชกาลที่ ๖) นี้เอง ซึ่งเป็นเวลาไม่ถึง ๑๐๐ ปีเท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การสืบค้นย้อนกลับไปหาต้นกำเนิดของตระกูลคนไทยทำได้จำกัด ไม่สามารถย้อนกลับไปได้เป็นพันๆ ปีดังเช่น ชาวจีน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    พลังแห่งความหลากหลายทางวัฒนธรรมวัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตร่วมกันของกลุ่มชนอันสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมหนึ่งๆ สิ่งแวดล้อมแต่ละแห่งแตกต่างกัน วัฒนธรรมจึงมีความหลากหลายไปตามชุมชนท้องถิ่นต่างๆ คนที่อยู่ขั้วโลกย่อมมีวิถีชีวิตเหมือนคนในทะเลทรายไม่ได้ วิถีชีวิตร่วมกันนั้นครอบคลุมทั้งระบบความเชื่อและระบบคุณค่าร่วมกัน การทำมาหากิน การกินการอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี การแต่งกาย ที่อยู่อาศัย สุนทรียกรรม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    เมื่อต้องเผชิญกับโรคมะเร็ง"เมื่อ ๔ เดือนก่อนหมอที่โรงพยาบาลตรวจพบว่าดิฉันมีก้อนที่เต้านมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ ซม. ดูลักษณะไม่ค่อยดี หมอแนะนำให้ผ่าตัดออก แต่ดิฉันกลัวผ่าตัด มีคนแนะนำให้รักษาแบบธรรมชาติบำบัด คือกินอาหารมังสวิรัติ ทำสมาธิ และทำการล้างพิษ ตอนนี้พบว่าก้อนนั้นโตเป็น ๒.๕ ซม. คุณหมอคิดว่าดิฉันควรจะทำอย่างไรดี..."คนไข้หญิงวัย ๕๐ ปีเศษได้นำผลการตรวจเต้านมทั้ง ๒ ครั้ง ...