บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    ทุกคนคงคุ้นเคยกับข้อแนะนำเกี่ยวกับการกินอาหารที่ว่า "ควรกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เพื่อให้ได้สารอาหารอย่างครบถ้วนในปริมาณที่เหมาะสม" ดูเหมือนจะง่ายๆ แต่ในทางปฏิบัติก็ต้องมีหลักการอยู่เหมือนกัน โดยในปัจจุบันจะยึดหลักของธงโภชนาการซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะช่วยอธิบายถึงวิธีการกินอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสม มีสัญลักษณ์รูปธงสามเหลี่ยมแบบแขวน โดยฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    เมื่อ ๒-๓ วันมานี้ มีคนไข้มาหาผมที่คลินิกนวด คนแรกเป็นคนหนุ่ม เขาบอกผมว่านอนอยู่ดีๆ พอตื่นขึ้นมาก็ปากเบี้ยว ตาหลับไม่ลง ถ้าอยู่เฉยๆ ก็ไม่มีอาการ แต่พอพูดปากจะเบี้ยวไปข้างหนึ่ง จะผิวปากก็ไม่ได้ ดื่มน้ำก็ไหลออกข้าง ปาก พอซักถามรู้อาการแล้ว ผมก็สอนให้เขาใช้ท่านวดหน้า ๗ ท่า เสร็จแล้วผมก็ลงมือนวดหน้าแก้อาการให้เขา ผมบอกเขาว่าเวลาอยู่บ้านให้บริหารท่าที่ผมแนะนำให้ทุกวัน อาการจะดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    โดยคำศัพท์ กริยา แปลว่า การกระทำ สำหรับโยคะ ตำราโยคะสูตรของปตัญชลี ได้กล่าวถึงคำว่า กริยาในความหมายของการปฏิบัติโยคะโดยรวม โดยระบุเอาไว้ในบทที่ 2 ประโยคที่ 1 ว่า กริยาโยคะ (หรือการปฏิบัติโยคะ) คือ การฝึกตบะ (ความอดทน), หมั่นศึกษาตำราดั้งเดิมและมีศรัทธา (หรือการขัดเกลาจิตใจให้มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน)กว่า 1,800 ปี หลังจากโยคะสูตรของปตัญชลี ในราว พ.ศ. 1990 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    บางคนอาจคิดว่าการทำงานกับการมีสุขภาพดีเป็นของคู่กันไม่ได้ ซึ่งคงไม่ปฏิเสธว่ากิจกรรมหนักในบางอาชีพ เช่น งานทำไร่ งานเลื่อยไม้ หรืองานเหมืองแร่ อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพหรือการบาดเจ็บได้ เนื่องจากต้องใช้พลังงานและกำลังกายมากเกินกว่าที่ร่างกายจะสามารถทำได้ในหนึ่งวันในขณะที่กิจกรรมเบามากในบางอาชีพ เช่น ทำคอมพิวเตอร์ นั่งประชุม หรืองานรับโทรศัพท์ อาจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    INN – โครงสร้างแห่งความสุขความทุกข์ของผู้คนอย่างหนึ่ง คือ การถูกกดทับจากโครงสร้างของระบบ จะเป็นระบบขององค์กรก็ดี โดยเฉพาะระบบราชการ หรือระบบทุนนิยมโลกก็ดี โครงสร้างเหล่านี้หนักมากทำให้ชีวิตขบกัดจนเจ็บป่วยได้ หรือทำให้รู้สึกว่าเราไร้อำนาจ หรือพลังที่จะทำอะไรกับมัน (powerlessness) มีความรู้สึกท้อแท้สื้นหวัง (hopelessness) ความรู้สึกไร้อำนาจควบคุมอะไรไม่ได้ ความรู้รึกท้อแท้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    “ขอยายไปตายที่บ้านเถอะ”คำคำนี้ผู้อ่านหลายๆ ท่านที่ทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคชรา คงจะเคยได้ยินบ่อย และน่าจะเป็นภาระหนักอึ้งทีเดียว ถ้าคำขอดังกล่าวไม่ได้รับการตอบสนองจากลูกหลาน ผู้ดูแล หรือบางทีแพทย์/พยาบาลก็ตามไม่ได้สนใจในคำบอกกล่าวคำขอร้องของผู้ป่วย ภาพนี้เป็นภาพที่ตัวดิฉันซึ่งเป็นพยาบาลได้อยู่ในเหตุการณ์ตั้งแต่เรียนวิชาชีพพยาบาลเลยทีเดียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    จมน้ำ...สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของเด็กไทยจมน้ำเป็นสาเหตุนำการตายในเด็กไทย จากการวิจัยในปี พ.ศ.๒๕๔๒ มีเด็กอายุ ๑-๑๔ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ ๑,๓๘๗ คน คิดเป็นอัตราการตาย ๑๐.๙ ต่อเด็ก ๑๐๐,๐๐๐ คน และคิดเป็นร้อยละ ๔๖.๘ ของการตายจากอุบัติเหตุทั้งหมด คิดเป็นอันดับหนึ่งของการตายทั้งหมด ไม่มีดรคใดทำให้เด็กไทยตามมากเท่ากับการจมน้ำ ตัวเลขนี้คล้านกับที่พบในประเทศรอบบ้านเรา เช่น เวียดนาม จีน เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    บาดทะยัก บาททะยัก เป็นโรคอันตรายร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้เป็นครั้งคราวในคนที่มีบาดแผลตามร่างกายแล้วขาดดารดูแลอย่างถูกต้อง เมื่อเกิดบาดแผลหากรู้จักดูแลรักษาแต่เนิ่นๆ และมีการฉีดยาป้องกันตามจำเป็น ก็มักจะปลอดภัยจากการถูกโรคนี้เล่นงานได้ชื่อภาษาไทย บาดทะยักชื่อภาษาอังกฤษ Tetanusสาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อบาดทะยัก ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “คลอสตริเดียมเตตานิ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    โคเลสเตอรอลกับไตรกลีเซอไรด์ถาม : สมศักดิ์/กรุงเทพฯขอเรียนถามคุณหมอเกี่ยวกับโคเลสเตอรอลกับไตรกลีเซอไรด์ ดังนี้๑.โคเลสเตอรอลกับไตรกลีเซอไรด์ต่างกันอย่างไร๒.ตัวไหนทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบ๓.แล้วจะมีวิธีลดโคเลสเตอรอลกับไตรกลีเซอไรด์นี้ได้อย่างไรครับคุณหมอช่วยตอบคำถามให้ผมด้วยนะครับตอบ : นพ. มานพ พิทักษ์ภากรโคเลสเตอรอลกับไตรกลีเซอไรด์เสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบครับ ...