-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
น้ำดื่มและเกลือแร่ความทรงจำที่เคยช่วยผู้ใหญ่ที่บ้านรองน้ำฝนไว้ใช้บริโภคยังไม่จางหายไปสักเท่าไหร่ แต่ปัจจุบันพบว่าน้ำฝนจากฟากฟ้ากรุงเทพมหานคร เขตปริมณฑล และบางพื้นที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้ดื่มเสียแล้ว เพราะปนเปื้อนฝุ่นละออง และสารพิษ ที่มองไม่เห็นในอากาศอีกด้วย โดยเฉพาะหมอกควันที่มาจากอุตสาหกรรมและจากการจราจรจากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้คนหันมานิยมบริโภคผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดกันมากขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
186
ตุลาคม 2537
ซีอิ๊วและเต้าเจี้ยวเมื่อเดือนที่แล้วมีโอกาสไปชมนิทรรศการวิชาการเทคโนอินโดจีน ซึ่งแสดงเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย เพื่อให้ประเทศเพื่อนบ้านของเราได้เห็นกัน ที่งานนี้เองได้พบกับผู้เชี่ยวชาญด้านซีอิ๊วท่านหนึ่ง มาแสดงเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ในการผลิตซีอิ๊วและเต้าเจี้ยว ซึ่งทำให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมากมายท่านเล่าให้ฟังว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
185
กันยายน 2537
โจ๊กและข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปคนกรุงเทพฯวันนี้ที่กำลังรอคอยรถไฟฟ้าหรือรถใต้ดินอยู่นั้น ก็คงต้องดิ้นรนหาเวลาให้เพียงพอบนท้องถนน ส่วนเวลาที่เหลืออยู่ที่ใช้หุงหาอาหารให้กับตนเองและครอบครัวก็เลยต้องลดหายไปเรื่อยๆอาหารประเภทกึ่งสำเร็จรูปจึงได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนกรุงเทพฯ ยุค “วันนี้ที่รอคอย” มากขึ้นทุกที โจ๊กและข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปก็เลยพลอยติดความนิยมไปกับเขาด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
น้ำปลาและน้ำเกลือปรุงรสถ้าจะกล่าวว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสที่ขาดไม่ได้ในครัวไทยก็คงไม่ผิดนัก เพราะคนไทยส่วนใหญ่โดยเฉพาะในภาคกลางได้นิยมใช้เครื่องปรุงรสชนิดนี้มานานแล้วอย่างไรก็ตาม เราคงจะอ้างว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสประชำชาติไทยไม่ได้สนิทปากนัก เพราะหลายประเทศในภูมิภาคนี้ เช่น เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย กัมพูชา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
น้ำส้มสายชูน้ำส้มสายชู เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่คู่โลกและเป็นที่นิยมบริโภคกันมาแต่โบราณกาล ฝรั่งเรียกน้ำส้มสายชูว่า Vinegar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “Vinaigre” อันมีความหมายว่าเหล้าไวน์ที่มีรสเปรี้ยวนั่นเองน้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงรสสำหรับอาหารในบ้านเราหลายชนิด โดยเฉพาะอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ข้าวขาหมู น้ำจิ้มหลายชนิด ฯลฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
น้ำตาลและสารทดแทนความหวาน“อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย”เป็นบทกวีของท่านสุนทรภู่ ซึ่งเป็นที่รู้จักของชาวไทยเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้น ความหวานจากอ้อยตาลในอาหารก็ยังเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของเราเสมอมานอกจากนี้ประเทศไทยก็ยังเป็นผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ในตลาดโลกรายหนึ่งอีกด้วยในระยะหลังนี้คนไทยได้มีการตื่นตัวตามนักวิชาการในประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
178
กุมภาพันธ์ 2537
วุ้นสำเร็จ และขนม เยลลี่ถ้าท่านเป็นแฟนการ์ตูนทางโทรทัศน์ตอนเช้าวันหยุด ก็คงมีโอกาสได้ชมโฆษณาขนมปังเด็กที่มีลักษณะนุ่มและยืดหยุ่นเป็นวุ้นเหนียวๆ หลายยี่ห้อ นอกจากนี้ในท้องตลอาดก็ยังมียี่ห้อที่ยังไม่เคยโฆษณาอีก และยังได้ทราบว่าบางยี่ห้อก็กำลังเตรียมตัวออกสู่ตลาดเลยทำให้นึกถึงความนิยมของเด็กและวัยรุ่นไทยสมัยใหม่ต่อผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ว่ามีมากเพียงไรขนมลักษณะทำนองนี้ก็ไม่แข็ง เป็นของใหม่สำหรับคนไทย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
มายองเนส สลัดครีม และ แซนวิชสเปรดครั้งนี้เราจะตามหมิวกับเจไปท่องยุโรปในหนังเรื่อง “ยามเทื่อลมพัดหวน“ กันดีกว่า แต่ก่อนอื่นก็ต้องเตรีมตัวให้คุ้นกับอาหารฝรั่งกันก่อน มายองเนส สลัดครีม และแซนวิชสเปรด คงเป็นอาหารฝรั่งที่หลายคนคุ้นเคยดีหน้าหนาวอย่างนี่เหมาะที่จะกินสลัด เนื่องจากผัดสดดีแถมราคาถูกอีกด้วย โดยทั่วไปสลัดครีมมักนิยมกินกับผักที่มีรสจืด เช่น ผักกาดหอม ผักกาดแก้ว แตงกวา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
อาหารเสริมสำหรับเด็กชนิดบรรจุขวดแม่บ้านทันสมัยที่มีสตางค์แต่ไม่มีเวลาหลายท่านพร่ำถามว่า อาหารเด็กที่บรรจุขวดที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดขณะนี้มีคุณภาพดีไหม ดีกว่าอาหารสดไหม เพราะส่งจากนอก เด็กต้องกินวันละกี่ขวดถึงจะเพียงพอ เดือนนี้ก็เลยพาท่านผู้อ่านไปอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ชนิดนี้กัน หลังจากที่สำรวจในท้องตลาดแล้วพบว่า อาหารเสริมสำหรับเด็กชนิดนี้มี4 ประเภทในท้องตลาด คือ (1) ประเภทผลไม้บด (2) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
น้ำอัดลมสวัสดีค่ะ อย่าเพิ่งแปลกใจว่าทำไมฉบับนี้จึงเป็นคะขา จ๊ะจ๋า เนื่องจากเจ้าประจำเขาพักร้อน ดิฉันจึงทำหน้าที่แทนไปก่อน ในวันที่อากาศร้อนแดดเปรี้ยงๆ จนตัวแทบไหม้เกรียมเนื่องจากไม่มีเค้าเมฆฝนเลยตั้งแต่เช้า เราไปล่องสายธารน้ำอัดลมให้ซาบซ่าชุ่มฉ่ำกันดีกว่าน้ำอัดลมหรือที่เรียกกันตามภาษาชาวบ้านว่า “น้ำขวด” นั้น เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ...