สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 33 มกราคม 2525
    คนส่วนใหญ่มักบอกว่า จิตวิทยา เป็นสิ่งที่เข้าใจได้ยาก“จิตวิทยา ถ้าพูดกันให้เข้าใจให้ละเอียด คงต้องใช้เวลานาน ถ้าเผื่อเราเอาความหมายพอจะใช้งานได้ ก็หมายถึงว่า ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับจิตใจของคนทั้งหมด ที่มันกลายเป็นเรื่องที่ยากและใช้ได้ยากเป็นเพราะว่ามันเป็นวิชาเกี่ยวกับจิตใจคน ซึ่งสลับซับซ้อนยากแก่การเข้าใจ เราก็ยังไม่รู้อะไรมากเท่าที่ควร ในเมื่อเรายังไม่รู้เท่าที่ควร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 33 มกราคม 2525
    คุณหญิงอุไร ลือคำรุง เจ้าของสวนวังแก้ว ระยอง ได้ให้สัมภาษณ์ “หมอชาวบ้าน” มีใจความโดยสำคัญว่า“เมื่อสิบกว่าปีมาแล้ว มีอาการปวดหลังมาก หมอบอกว่าเพราะนั่งมากเกินไป ซึ่งเป็นความจริง เพราะสมัยโน้น ถนนจากกรุงเทพฯ-ระยอง ต้องผ่านสัตหีบ ถึงวังแก้วใช้เวลา 4 ชั่วโมงครึ่ง แล้วก็ต้องมาทุกอาทิตย์ เพราะริเริ่มพัฒนาที่ดินที่แหลมทองหลาง วังแก้ว ปรากฏว่ากระดูกคองอก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    ที่เรียกว่าอ้วนๆ นั้น อย่างไรจึงเรียกว่าอ้วนครับ !อ้วนในทางการแพทย์เราถือว่า การที่มีร่างกายสมบูรณ์เกินไป มีไขมันพอกพูนในใต้ผิวหนังและในอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายมากกว่าที่ควรจะเป็น โดยปกติคนเราต้องมีไขมันอยู่บ้างแต่หากมากเกินไป เกินความต้องการก็ทำให้ร่างกายอ้วน มีบางรายมองด้วยตาไม่ชัดเจน ต้องมีการตรวจสอบทดสอบด้วยการวัด การชั่งน้ำหนัก วัดความหนาของไขมัน ก็ปรากฎผลออกมาชัดเจน แต่โดยทั่วๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 31 พฤศจิกายน 2524
    น้ำมันสำคัญอย่างไร ?น้ำมันที่ว่านี่คือ น้ำมันที่เรากินกันอยู่ทุกวัน มีทั้งจากสัตว์และพืช คุณคงสงสัยว่า เราจำเป็นต้องกินน้ำมันหรือเปล่า ว่าที่จริง น้ำมันเป็นขุมพลังเชียวละ 1 กรัม ให้พลังงานถึง 9 แคลอรี่ (แคลอรี่คือ หน่วยวัดพลังงานที่อาหารให้แก่ร่างกาย) หรือ 1 ช้อนชา ให้ถึง 45 แคลอรี่ ซึ่งกำลังงานจำนวนนี้ คุณสามารถนำไปใช้ปั่นจักรยานได้ตั้งชั่วโมงเชียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 30 ตุลาคม 2524
    มนุษย์นำถั่วเหลืองมาใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันนานนับพันๆ ปีแล้ว แต่ด้วยถั่วเหลืองนั้นมีเมล็ดซึ่งมีลักษณะเนื้อแข็งอยู่ จึงได้มีการดัดแปลงกันบ้าง เพื่อให้เป็นอาหารที่มีสภาวะง่ายต่อการบริโภค ที่เราท่านคุ้ยเคยกันมากก็มักจะได้แก่ ถั่วงอกหัวโต ทุกคนคงร้องอ๋อ…..ถั่วงอกหัวโตนั้น นัยว่านำมาผัดกับหมู เหยาะน้ำมันหอยลงไปนิด แซ่บอย่างบอกใคร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 28 สิงหาคม 2524
    เกือบทุกครั้งที่ได้แนะนำคนไข้หรือญาติคนไข้ในเรื่อง การดูแลบาดแผล มักจะได้ยินเสมอๆ ว่า“หมอกินไข่ได้ไหม คนเขาบอกว่าแสลง กินแล้วแผลจะเน่า กลายเป็นแผลปูด”“กินปลาดุกไม่ได้หรอก เงี่ยงปลาดุกจะไปทำให้แผลพุพองและหายช้า” ฯลฯ และอีกหลายๆ คน ก็มีอีกหลายๆ ความเชื่ออย่างไรก็ตาม ในเรื่องการดูแลเรื่องแผล ไม่ว่าแผลถลอก แผลเล็กๆ ที่โดนมีดบาด แผลที่ถูกมีดเฉือน แผลตะปูตำ แผลไฟไหม้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 28 สิงหาคม 2524
    ⇒ชื่ออื่น ผักขาวปืน, ผักปืน, ผักปึม (ภาคเหนือ); ขึ่งฉ่าย, ฮั่งขึ่ง (แต้จิ๋ว); ฉินฉ้าน, ฮั่นฉิน (จีนกลาง); Garden Celery, Smallage⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Apium graveolens Linn. วงศ์ Umbelliferae⇒ ลักษณะต้นเป็นพืชล้มลุกอายุ 1-2 ปี มีกลิ่นหอมฉุน ลำต้นกลวงกลม ต้นสูง 30-50 ซม. ใบรวม มีใบย่อย 2-3 คู่ ก้านใบรวมอาจยาว 36-45 ซม. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 28 สิงหาคม 2524
    เรื่อง “หายใจเพื่อสุขภาพ” โดย “รัก ธรรมชาติ” ในหมอชาวบ้าน ฉบับมกราคม 2524 ทำให้ผมคิดถึงเรื่องกายหายใจที่เคยทึ่งมาเมื่อหลายปีก่อน หลักเดียวกัน แต่ฝอยต่างกัน คิดว่าหากนำเสนอท่านผู้อ่านเพื่อสนับสนุนคุณ “รัก ธรรมชาติ” ก็น่าจะเกิดประโยชน์แต่จะได้ประโยชน์จริงหรือไม่เพียงใด ก็สุดแต่ท่านจะไตร่ตรองลองทำดูถ้าท่านอ่านแล้วเชื่อหรือไม่เชื่อ โดยไม่ลองทำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 29 สิงหาคม 2524
    กล้วยที่นิยมกินกันมีหลายชนิด ได้แก่ กล้วยไข่ (Sucrier), กล้วยหอม, กล้วยหอมเขียว (Lacantan), กล้วยหอมทอง (Martinigue Banana), กล้วยน้ำว้า, กล้วยเล็บมือนาง, กล้วยหักมุก, กล้วยน้ำ, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 27 กรกฎาคม 2524
    ⇒ชื่ออื่นปะเซ้ส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ; ปะเซอก่อ (กะเหรี่ยง-ตาก) ; หอม (ทั่วไป) ; หอมแดง (ภาคกลาง-ภาคใต้) ; หอมไทย, หอมหัว (ภาคกลาง) ; หอมบัว (ภาคเหนือ) ; ชัง,ตังชัง (จีน) ; shallot.⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์Allium ascalonicum L. วงศ์ Liliaceae⇒ ลักษณะเป็นพืชขนาดเล็ก สูง 15-50 ซม. มีกาบใบพองสะสมอาหารเป็นกระเปาะคล้ายหัว สีแดงถึงน้ำตาลเหลือง ...